วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 15




วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารตฤณ  แจ่มถิน
วันที่ 24 พฤศจิกายน  2557




บันทึกอุทิน
วันนี้อาจารย์เปิด วีดีโอ  อนุบาลละออทิศ (สวนดุสิต)ให้ดูพร้อมบันทึกเพื่อที่จะสรุปเป็น Mind Map
โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มล่ะ 5-6 คน อาจารย์แจก กระดาษ และสี ต่อจากนั่นสมาชิกในกลุ่มช่วยกันระดมความคิดที่ได้จากการดู VDO ว่ามีอะไรบ้าง สมชิกของกลุ่มดิฉันจดบันทึกกันทุกคน  งานออกมาได้เป็นที่น่าพอใจอย่างมากค่ะ 

และนี้คือ ผลงานของกลุ่มเรา 



ประเมินตนเอง

วันนี้ตั้งใจฟังอาจารย์และจดบันทึกสิ่งที่อาจารย์สอน

ประเมินเพื่อน

เพื่อนๆร่วมกันทำกิจกรรมได้เป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์ 
อาจารย์มีเทคนิคในการสอนแปลกใหม่ แต่อาจารย์ชอบ "งอล" เวลากนักศึกษาไม่ตั้งใจฟัง

สัปดาห์ที่ 14



วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารตฤณ  แจ่มถิน
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557

บันทึกอุทิน

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน อาจารย์ให้เตรียมงาน  "รายวิชานาฏศิลป์และเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย"











สัปดาห์ที่ 13



วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารตฤณ  แจ่มถิน

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557


บันทึกอุทิน

สรุปจาก Mind Map ดังนี้เลยค่ะ

ประเมินตนเอง

วันนี้ตั้งใจเรียน แต่มีคุยกับเพื่อนบ้างค่ะ เข้าเรียนตรงเวลา จดบันทึกที่อาจารย์สอน

ประเมินเพื่อน

เพื่อนๆยังคุยกัน แต่ก็ตอบคำถามอาจารย์ได้ ร่วมทำกิจกรรม

ประเมินอาจารย์
 อาจารย์สอนสนุก ทำท่าประกอบได้ดีมากค่ะ ชอบอาจารย์เวลาทำท่าประกอบในการสอน

วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 12

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารตฤณ  แจ่มถิน
วันที่  27  ตุลาคม  พ.ศ. 2557


เวลาเรียน  11:30 น.

วันนี้อาจารย์เฉลยข้อสอบและอธิบายข้อสอบแต่ละข้อ.....





ประเมินอาจารย์
   วันนี้อาจารย์เฉลยข้อสอบแต่ละข้อและอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจ  และบอกข้อสอบบางข้ออาจารย์ทำข้อสอบลวงและบางข้อที่ล่วงอาจารย์ยังไม่รู้ความหมายแค่คิดขึ้นมาเฉยๆ

ประเมินตนเอง
   วันนี้ทำให้ได้รู้ว่าข้อสอบที่เราทำไปบางข้อนั้นถูก  บางข้อที่เราไม่มั่นใจก็มีทั้งถูกทั้งผิด  บางทีที่ตอบไปเป็นคำตอบที่ลวงไม่มีความหมาย  นึกแล้วขำตอบไปได้ทั้งๆที่ไม่มีความหมายไรเลย!!

ประเมินเพื่อน
   เพื่อนตั้งใจฟังอาจารย์เฉลยข้อสอบและช่วยกันตอบข้อสอบ....


สัปดาห์ที่ 11

         

 วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ





วันที่  27  ตุลาคม  พ.ศ. 2557


เวลาเรียน  11:30 น.


สอบกลางภาค

สัปดาห์ที่10

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารตฤณ  แจ่มถิน
วันที่  20  ตุลาคม  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน  11:30 น.






การนำไปประยุกต์ใช้

-สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
-ใช้ในรายวิชาการจัดประสบการณภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

ประเมินอาจารย์

  - อาจารย์อธิบาย ทำท่าทาง และยกตัวอย่างให้นักศึกษาเข้าใจได้อย่างดี


ประเมินเพื่อน

 -  เพื่อนมีทั้งตั้งใจเรียนและมีคุยกันบ้าง

ประเมินตนเอง

   -หลับในเวลาเรียนแต่แปปเดียว  แต่สามารถเรียนได้อย่างเข้าใจ



สัปดาห์ที่ 9

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารตฤณ  แจ่มถิน
วันที่  13  ตุลาคม  พ.ศ.2557
เวลาเรียน  11:30  น.



*ไม่ได้เข้าเรียนเนื่องจากไม่สบายค่ะ*

สัปดาห์ที่ 8 วันที่6 ตุลาคม 2557





วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารตฤณ  แจ่มถิน
วันที่  6  ตุลาคม  พ.ศ.2557

สอบกลางภาค

สัปดาห์ที่7

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน  อาจารตฤณ  แจ่มถิน
วันที่  29  กันยายน  พ.ศ.2557

ไม่มีการเรียนการสอน

วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่6 วันที่ 22 กันยายน 2557

บันทึกการเรียน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน คุณครูตฤณ แจ่มถิ่น
เวลาเรียน 08:30-12:20

เวลาที่เข้าเรียน 08:20น.






การประเมินตนเอง
วันนี้ตั้งใจเรียนดีมากค่ะ  ถามอาจารย์ในสิ่งที่ดิฉันอยากรู้หลายคำถามเลย สนใจจดบันทึกตามที่อาจารย์แนะนำ ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเพื่อนๆ
 
การประเมินเพื่อน
วันนี้เพื่อนส่วนใหญ่ตั้งใจเรียนดี แต่ก็มีบางกลุ่มที่คุยกัน  แต่การแต่งกายส่วนใหญ่เรียบร้อยดีค่ะ
 
การประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งตัวเรียบร้อย พูดจาไพเราะ อ่อนหวานน่าฟัง มีเทคนิคที่ไม่ให้นักศึกษาเบื่อด้วยการร้องเพลง
 

สัปดาห์ที่5 วันที่15 กันยายน 255

 ดิฉันไม่ได้มาเรียนเนื่องจากไปทำธุระที่ต่างจังหวัด ค้ะ

สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 8 กันยายน 2557

บันทึก



บันทึกการเรียน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน คุณครูตฤณ  แจ่มถิ่น
เวลาเรียน 08:30-12:20

 เวลาที่เข้าเรียน 08:20น.



วันนี้รายงานแต่ล่ะกลุ่ม

-เด็กชีพี 

- เด็ก แอลดี
-เด้กสมาธิสั้น
-เด็กออทิสซึม
-EQ สูง
-ดาวสินโดม


สัปดาห์ที่ 3 วันที่1 กันยายน 2557

บันทึก

บันทึกการเรียน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน คุณครูตฤณ  แจ่มถิ่น
เวลาเรียน 08:30-12:20

 เวลาที่เข้าเรียน 08:20น.












การประเมินตนเอง

วันนี้แแต่งกายเรียบร้อยดีค่ะ  ตอบคำถามได้ดี  แสดงความคิดเห็นบ้างเมื่อครูถาม  ตั้งใจจดบันทึกตามที่ครูสอนได้อย่างถูกต้อง

การประเมินเพื่อน

วันนี้เพื่อนๆ น่ารักตั้งใจฟังครูสอน  ไม่ค่อยคุยกันเท่าไหร่ เพื่อนส่วนใหญ่แต่งกการเรียบร้อยดี

การประเมินอาจารย์
วันนี้อาจรย์แต่งกายเรียบร้อย น่ารัก พูดจาอ่อนหวานน่าฟัง  มีเทคนิคให้นักศึกษาจดบันทึกตาม

สัปดาห์ที่2 วันที่25 กันยายน 2557

บันทึก
 วันนี้อาจารย์ได้บรรยาย เกียวกับเด็กพิเศษ หมายถึง

เด็กพิเศษ (Special Child) เริ่มเป็นคำที่คุ้นหูมากขึ้นในปัจจุบัน หลายคนอาจสงสัยว่าพวกเขาคือใคร และเด็กแบบไหนหรือที่เป็นเด็กพิเศษ เด็กกลุ่มนี้มีความสำคัญอย่างไร
เด็กพิเศษ เริ่มได้รับความสนใจ และการดูแลช่วยเหลืออย่างจริงจัง มาเมื่อไม่นานนี้ ทั้งๆ ที่เด็กกลุ่มนี้มีมานานแล้ว เมื่อกล่าวถึงเด็กพิเศษ แต่ละคนก็มักมีความเข้าใจที่แตกต่างกันไป บางคนนึกถึงเด็กที่มีความสามารถพิเศษ บางคนนึกถึงเด็กที่มีความบกพร่อง
เด็กพิเศษ มาจากคำเต็มว่า “เด็กที่มีความต้องการพิเศษ” หมายถึงเด็กกลุ่มที่จำเป็นต้องได้รับการดูแล ช่วยเหลือเป็นพิเศษ เพิ่มเติมจากวิธีการตามปกติ ทั้งในด้าน การใช้ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ และการเข้าสังคม เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพของเขาเอง โดยออกแบบการดูแล ช่วยเหลือเด็ก ตามลักษณะความจำเป็น และความต้องการของเด็กแต่ละคน
เด็กพิเศษ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้
  1. เด็กที่มีความสามารถพิเศษ
  2. เด็กที่มีความบกพร่อง
  3. เด็กยากจนและด้อยโอกาส
เด็กแต่ละกลุ่ม มีความจำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือเป็นพิเศษเหมือนกัน แต่ด้วยวิธีการที่แตกต่างกัน ตามความเหมาะสมของเด็กแต่ละกลุ่ม แต่ละคน ในบทความนี้จะกล่าวถึงขอบเขตของเด็กพิเศษ แต่ละกลุ่มว่าเป็นอย่างไร เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
1 ) เด็กที่มีความสามารถพิเศษ
เด็กกลุ่มนี้มักไม่ค่อยได้รับการดูแล ช่วยเหลืออย่างจริงจัง เนื่องจาก เรามักคิดว่าพวกเขาเก่งแล้ว สามารถเอาตัวรอดได้ บางครั้งกลับไปเพิ่มความกดดันให้มากยิ่งขึ้น เพราะคิดว่าพวกเขาน่าจะทำได้มากกว่าที่เป็นอยู่อีก วิธีการเรียนรู้ในแบบปกติทั่วไป ก็ไม่ตอบสนองความต้องการในเรียนรู้ของเด็ก ทำให้เกิดความเบื่อหน่าย ทำให้ความสามารถพิเศษที่มีอยู่ไม่ได้แสดงออกอย่างเต็มศักยภาพ
เด็กที่มีความสามารถพิเศษ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย ดังนี้
  • เด็กที่มีระดับสติปัญญาสูง คือ กลุ่มเด็กที่มี ระดับสติปัญญา (IQ) ตั้งแต่ 130 ขึ้นไป
  • เด็กที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้าน อาจไม่ใช่เด็กที่มีระดับสติปัญญาสูง แต่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านที่โดดเด่นกว่าคนอื่นในวัยเดียวกัน อาจเป็นด้าน คณิตศาสตร์ - ตรรกศาสตร์ การใช้ภาษา ศิลปะ ดนตรี กีฬา การแสดง ฯลฯ
  • เด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
2) เด็กที่มีความบกพร่อง
มีการแบ่งหลายแบบ ในที่นี้จะยึดตามแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ ที่แบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม ดังนี้
  • เด็กที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น
  • เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
  • เด็กที่มีความบกพร่องทางการสื่อสาร
  • เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย และการเคลื่อนไหว
  • เด็กที่มีความบกพร่องทางอารมณ์ และพฤติกรรม
  • เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual Disabilities)
  • เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disabilities)
  • เด็กออทิสติก (รวมถึงความบกพร่องของพัฒนาการแบบรอบด้านอื่นๆ - PDDs)
  • เด็กที่มีความพิการซ้อน
3 ) เด็กยากจนและด้อยโอกาส
คือเด็กที่อยู่ในครอบครัวที่มีฐานะยากจน ขาดแคลนปัจจัยที่จำเป็นในการเจริญเติบโต และการเรียนรู้ของเด็ก และรวมถึงกลุ่มเด็กที่ด้อยโอกาสทางการศึกษาจากสาเหตุอื่นๆ เช่น เด็กเร่ร่อน เด็กถูกใช้แรงงาน เด็กต่างด้าว ฯลฯ
เด็กกลุ่มต่างๆที่กล่าวถึง เป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ควรได้รับการดูแลเพิ่มเติมด้วยวิธีการพิเศษ ซึ่งต่างไปจากวิธีการตามปกติ เพื่อช่วยให้สามารถพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ได้ เพื่อให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีโอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียม และได้รับการยอมรับในสังคม
คำว่า "เด็กพิเศษ" ในปัจจุบันมักหมายถึง กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องเท่านั้น ส่วนเด็กที่มีความสามารถพิเศษ กับกลุ่มเด็กยากจนและด้อยโอกาส มักไม่ค่อยเรียกว่าเป็นเด็กพิเศษ



ประเมินตนเอง
  
วันนี้ได้ตั้งใจฟัง อาจารย์


ประเมินเพื่อน
  เพื่อนๆๆตั้งใจฟัง อาจารย์ 

ประเมินครูผู้สอน

อาจารย์ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ เพราะคอมที่ห้องเสีย

สัปดาห์ที่1 วันที่18 สิงหาคม 2257

 บันทึก

   วันนี้ อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับรายวิชาเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ และได้สั่งทำ Blogger
และอาจารย์ได้สั่งทำงานกลุ่ม



ประเมินตนเอง


วันแรกของการเปิดเรียนอาจไม่พร้อมสักเท่าไร เนื่องจากการลงทะเบียนยังไม่ลงตัว


ประเมินเพื่อน



เพื่อนๆๆอาจมาไม่ครบเพราะเป้นวันแรกของการเปิดเรียน


ประเมินอาจารย์


  อาจารย์มีความพร้อมที่จะสอนในขณะที่สภาพห้องเรียนไม่พร้อมที่จะเรียน